15 August 2000
งบการเงินและงบการเงินรวมไตรมาส 2ปี2543
เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในกองทุนเปิด 1,502,889 - 247,732 -
เงินสดรับจากเงินปันผล 11,187 - 874,988 -
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและ
บริษัทอื่น(เพิ่มขึ้น)ลดลง (10,506) (7,003) 344,536 (90,857)
ซื้ออุปกรณ์เพิ่มขึ้น (23,521) (48,439) (3,246) (1,864)
เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ 8,701 3,665 1,697 16
สิทธิการใช้ทรัพย์สินเพิ่มขึ้น (7,110) (1,233) - -
ค่าเช่าภาพยนตร์ ค่าผลิตภัณฑ์ภาพยนตร์ ค่าละคร
และค่าลิขสิทธิ์เพิ่มขึ้น (547,886) (404,622) (212,918) (167,404)
เงินสดรับจากการขายละคร 20,195 - 19,319 -
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้น 4,000 - - -
เงินปันผลรับส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (12) - - -
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุน 15,808 914,105 1,071,591 1,138,468
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 97 941 - -
เงินทดรองจากกรรมการเพิ่มขึ้น(ลดลง) (469) 1,179 - -
ชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าระยะยาว (107) (120) - -
จ่ายเงินปันผล (1,400,000) (1,300,000) (1,400,000) (1,300,000)
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (1,400,479) (1,298,000) (1,400,000) (1,300,000)
หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยังไม่ได้ตรวจสอบ
สอบทานแล้ว
บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด (ต่อ)
สำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
2543 2542 2543 2542
เงินสดและเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (168,656) 86,334 27,586 12,220
เงินสดและเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 1 มกราคม 377,602 134,253 18,284 10,347
เงินสดและเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 30 มิถุนายน 208,946 220,587 45,870 22,567
การเปิดเผยเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด
เงินสดและเงินฝากธนาคารที่จ่ายไปในระหว่างงวดสำหรับ
ดอกเบี้ยจ่าย 192 64 - -
ภาษีเงินได้ 504,119 613,515 138,257 235,692
รายการที่ไม่ใช่เงินสดประกอบด้วย
เงินปันผลค้างรับ - - 199,999 199,999
หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล
วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 2542
1. ลักษณะธุรกิจ
1.1 ข้อมูลทั่วไป
สถานะทางกฎหมาย นิติบุคคลจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย และจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สถานที่ตั้งบริษัท 622 อาคาร เอ็มโพเรี่ยม ทาวเวอร์ ชั้น 17/1-8
ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย
จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย
(บริษัทได้ย้ายจากที่เดิมในระหว่างปี 2542)
ลักษณะธุรกิจ (1) จัดหา ผลิตรายการ และขายเวลาโฆษณาทาง
โทรทัศน์
(2) ลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมซึ่งดำเนิน
ธุรกิจตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ. 7
จำนวนพนักงาน
ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ (1) รวมบริษัทย่อย 1,514 คน และ 1,438 คน ตามลำดับ
31 ธันวาคม 2542 (2) เฉพาะของบริษัท 37 คน และ 35 คน ตามลำดับ
1.2 บริษัทย่อยได้ทำสัญญาร่วมดำเนินกิจการส่งโทรทัศน์สีกับองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย
ตามสัญญาลงวันที่ 28 เมษายน 2521 แก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2525
ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2530 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2532 โดยได้รับ
สิทธิร่วมดำเนินการออกอากาศสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 จนถึงวันที่ 25 มีนาคม 2563 โดย
ทรัพย์สินที่บริษัทย่อยได้กระทำขึ้นหรือได้จัดหามาไว้สำหรับใช้ในการดำเนินการตามสัญญานี้ ให้ตกเป็น
ทรัพย์สิน ขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย นับแต่วันที่ได้กระทำหรือได้จัดหา โดยบริษัท
ย่อยมีสิทธิในการใช้ทรัพย์สินดังกล่าวได้
ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น บริษัทย่อยจะต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนรายปีแก่องค์การสื่อสาร
มวลชนแห่งประเทศไทย ตามที่ระบุไว้ในสัญญา
-2-
1.3 บริษัทย่อยได้ทำสัญญาเช่าเวลาจัดรายการและโฆษณากับองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย
ตามสัญญาลงวันที่ 25 มกราคม 2533 และแก้ไขใหม่ ลงวันที่ 22 กันยายน 2537 โดยได้รับ
สิทธิในการจัดรายการและโฆษณาสถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท.เอฟ.เอ็ม.ความถี่ 105.5 เมกกะ
เฮิร์ตซ กรุงเทพมหานคร จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2563 เพื่อให้สอดคล้องกับอายุสัญญา
ร่วมดำเนินกิจการส่งโทรทัศน์สี แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 โดยมีข้อตกลงว่าหากสัญญาร่วมดำเนิน
กิจการส่งโทรทัศน์สี สิ้นสุดลงไม่ว่าด้วยเหตุใดก่อนครบกำหนดอายุสัญญา ให้ถือว่าสัญญานี้เป็น
อันสิ้นสุดด้วย
ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น บริษัทย่อยจะต้องจ่ายค่าเช่าเวลาและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
รายเดือนแก่องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ตามที่ระบุไว้ในสัญญา
2. หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินระหว่างกาลรวม
2.1 งบการเงินระหว่างกาลรวมนี้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินระหว่างกาลของ บริษัท บีอีซี เวิลด์จำกัด
(มหาชน) และบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้
ถือหุ้นร้อยละ จัดตั้งขึ้นใน
30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 ประเทศ
บริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นโดยตรง
1. บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด 99.99 99.99 ไทย
2. บริษัท รังสิโรตม์วนิช จำกัด 99.99 99.99 ไทย
3. บริษัท นิวเวิลด์ โปรดั๊กชั่น จำกัด 99.99 99.99 ไทย
4. บริษัท อริยะวัฒน์ จำกัด 99.99 99.99 ไทย
5. บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอร์โปเรชั่น จำกัด 99.99 99.99 ไทย
6. บริษัท ทรีมีเดีย จำกัด 99.99 99.99 ไทย
7. บริษัท บีอีซี สตูดิโอ จำกัด 99.99 99.99 ไทย
8. บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล ดิสทริบิวชั่น จำกัด 99.99 99.99 ไทย
9. บริษัท สำนักข่าว บีอีซี จำกัด 99.99 99.99 ไทย
10. บริษัท บางกอกเทเลวิชั่น จำกัด
(เดิมชื่อ บริษัท บางกอกเคเบิ้ลเทเลวิชั่น ซีสเท็มส์ จำกัด) 99.99 99.99 ไทย
11. บริษัท บางกอกแซทเทิลไลท์ แอนด์ เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด 99.99 99.99 ไทย
12. บริษัท แซทเทิลไลท์ บรอดคาสติ้ง ซีสเท็ม จำกัด 99.99 99.99 ไทย
13. บริษัท แซทเทิลไลท์ ทีวี บรอดคาสติ้ง จำกัด 99.99 99.99 ไทย
14. บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด 59.99 59.99 ไทย
บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดย บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล ดิสทริบิวชั่น จำกัด
1. บริษัท ทีวีบี ทรี เน็ตเวอร์ค จำกัด 59.99 59.99 ไทย
บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดย บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด
1. B E C - TERO (YANGON) COMPANY LIMITED 99.80 99.80 พม่า
2. บริษัท ไทยทิคเก็ตมาสเตอร์.คอม จำกัด 59.99 - ไทย
-3-
2.2 ยอดคงค้างและรายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อย ได้ตัดออกจากงบการเงินระหว่างกาล
รวมแล้ว
2.3 ส่วนแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีของบริษัทย่อยและราคาทุนของเงินลงทุน แสดงในบัญชี
ค่าความนิยม
3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
3.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย
บริษัทบันทึกรายได้และค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์พึงรับพึงจ่าย
3.2 เงินลงทุนในกองทุนเปิด
เงินลงทุนในกองทุนเปิดถือเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า แสดงในราคายุติธรรม ราคาทุนของ
เงินลงทุนที่จำหน่ายในระหว่างงวดคำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
3.3 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
บริษัทพิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยประมาณเป็นอัตราร้อยละของกลุ่มลูกหนี้ที่
ได้จำแนกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระ ซึ่งอัตราร้อยละของกลุ่มลูกหนี้แต่ละกลุ่มจะมีอัตราไม่เท่ากัน
3.4 สินค้าคงเหลือ
สินค้าที่มีเพื่อขาย แสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า
ราคาทุนคำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
รายการที่ยังไม่ออกอากาศ แสดงในราคาทุนและจะถือเป็นต้นทุนเมื่อได้ออกอากาศแล้ว
3.5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและบริษัทอื่น
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม แสดงตามวิธีส่วนได้เสีย และเงินลงทุนใน
บริษัทอื่นแสดงในราคาทุน
3.6 เงินลงทุนในที่ดิน
เงินลงทุนในที่ดิน แสดงในราคาทุน
3.7 อุปกรณ์
อุปกรณ์ แสดงในราคาทุน ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งาน
โดยประมาณของสินทรัพย์ในเวลา 5-10 ปี และได้หักค่าเผื่อจากการด้อยค่าของสินทรัพย์แล้ว
-4-
3.8 สิทธิการใช้ทรัพย์สินรอตัดบัญชี
สิทธิการใช้ทรัพย์สินรอตัดบัญชี ตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามอายุสัมปทานที่เหลือ หรือตัดจ่าย
เป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานในเวลา 5-20 ปี
3.9 ค่าเช่าภาพยนตร์ ค่าผลิตภัณฑ์ภาพยนตร์ ค่าละครและลิขสิทธิ์รอตัดบัญชี
ค่าเช่าภาพยนตร์ ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่กำหนดใน
สัญญาหรือสัดส่วนการออกอากาศของภาพยนตร์ที่กำหนดในสัญญา
หรือตามสิทธิที่ได้รับในการออกอากาศ
ค่าผลิตภัณฑ์ภาพยนตร์ ตัดบัญชีเป็นต้นทุนตามอัตราส่วนของรายได้ที่รับ จากประมาณ
การรายได้ทั้งหมด
ค่าละคร - ละครก่อนปี 2543 ตัดเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงในระยะเวลา
5 ปี ตั้งแต่เริ่มได้มา
- ละครตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นไป ตัดเป็นค่าใช้จ่ายอัตราร้อยละ 20
ต่อปี ตั้งแต่เริ่มได้มา และจะตัดเป็นค่าใช้จ่ายให้คงเหลือเท่ากับ
ร้อยละ 20 ของมูลค่าต้นทุนเดิมเมื่อออกอากาศครั้งแรกจบทั้งเรื่อง
หลังจากนั้นจะถูกตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายต่อไปโดยวิธีเส้นตรงใน
ระยะเวลา 5 ปี
ค่าลิขสิทธิ์ ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่กำหนดใน
สัญญา
3.10 รายจ่ายรอตัดบัญชี
ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะ เวลาที่กำหนดใน
สัญญา
3.11 ค่าความนิยม
ค่าความนิยม บริษัทตัดจำหน่ายโดยวิธีเส้นตรงในเวลา 5 ปี และในงวดบัญชีสิ้นสุด
วันที่ 31 ธันวาคม 2542 ได้ตัดค่าความนิยมรอตัดบัญชีในเงินลงทุนในบริษัทร่วมทั้งหมด
เป็นค่าใช้จ่าย โดยแสดงเป็นผลขาดทุนจากการด้อยค่า
3.12 กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้น คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิด้วยจำนวนหุ้นที่ออกจำหน่ายและเรียกชำระ
แล้ว ณ วันสิ้นงวด
-5-
3.13 รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศได้บันทึกเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน
ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มียอดคงเหลือ ณ วันที่
ในงบดุล ได้บันทึกไว้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล ผลกำไรหรือ
ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนได้บันทึกเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานระหว่างงวด
แล้ว
งบการเงินของบริษัทย่อยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทเพื่อ
การทำงบการเงินรวม โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนดังต่อไปนี้
-สินทรัพย์และหนี้สิน แปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย ณ วันสิ้นงวด
-ส่วนของผู้ถือหุ้นและค่าเสื่อมราคา แปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิดรายการ
-รายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยสำหรับงวด
ส่วนปรับปรุงจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ แสดงอยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้น
4. เงินลงทุนในกองทุนเปิด ประกอบด้วย
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค.2542
เงินลงทุนในกองทุนเปิด - ตราสารหนี้ 2,142,445 850,000 514,661 328,000
กำไรที่ยังไม่เกิดของ
เงินลงทุนในกองทุนเปิด 33,643 1,133 11,266 608
เงินลงทุนในกองทุนเปิด - สุทธิ 2,176,088 851,133 525,927 328,608
สำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 เงินลงทุนในกองทุนเปิด
มีผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากผลต่างของราคายุติธรรมกับราคาทุนที่บันทึกในงบการเงินรวม เป็น
จำนวนเงิน 18.24 ล้านบาทและ 32.51 ล้านบาท ตามลำดับ และบันทึกในงบการเงินเฉพาะ
ของบริษัท เป็นจำนวนเงิน 4.29 ล้านบาท และ 10.66 ล้านบาท ตามลำดับ ผลกำไรดังกล่าว
ได้นำไปแสดงในงบกำไร
ขาดทุนแล้ว
-6-
5. ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสินทรัพย์
บริษัทมีการลงทุนและทำธุรกรรมกับบริษัทที่ผิดนัดชำระหนี้ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ
31 ธันวาคม 2542 ดังนี้
5.1 ลูกหนี้การค้าที่ผิดนัดชำระหนี้แยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระได้ดังนี้
หน่วย : พันบาท
อายุลูกหนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542
มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน 14,382 17,185 - -
มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน 14,119 12,388 - -
มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป 35,263 29,348 714 764
รวม 63,764 58,921 714 764
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 44,180 42,666 1,298 2,267
5.2 เงินฝากสถาบันการเงินเป็นการเปลี่ยนตั๋วสัญญาใช้เงินของสถาบันการเงิน ซึ่งกระทรวง
การคลัง ได้มีคำสั่งให้ระงับการดำเนินกิจการ มาฝากในบริษัท เงินทุนหลักทรัพย์กรุงไทย
ธนกิจ จำกัด (มหาชน) และนำมาเปลี่ยนเป็นบัตรเงินฝากกับธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) โดยห้ามไถ่ถอนก่อนครบกำหนด 3-5 ปี บริษัทไม่ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้
เนื่องจากรัฐบาลได้ค้ำประกันเงินฝากดังกล่าว โดยมีรายละเอียดดังนี้
หน่วย : ล้านบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542
ตั๋วสัญญาใช้เงิน 280.09 280.09 94.32 94.32
บัตรเงินฝากธนาคาร 71.05 71.05 - -
รวม 351.14 351.14 94.32 94.32
-7-
6. เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่น
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ อัตราดอกเบี้ย
ของบริษัทฯ ( ร้อยละ )
30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542
บริษัทใหญ่ให้กู้ยืม
-บริษัทย่อย
1.บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด - - 400,000 800,000 4.75-5.75 5.75-12.25
2.บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอร์โปเรชั่น จำกัด - - 278,393 257,100 4.75-5.75 5.00-15.25
3.บริษัท ทรีมีเดีย จำกัด - - 5,337 5,337 5.00 5.00-6.75
4.บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล
ดิสทริบิวชั่น จำกัด - - 1,767 1,683 4.75-5.75 5.00-12.25
5.บริษัท บางกอกเทเลวิชั่น จำกัด
(เดิมชื่อ บริษัท บางกอกเคเบิ้ลเทเลวิชั่น
ซีสเท็ม จำกัด) - - - 17,591 - 5.75-12.25
6.บริษัท แซทเทิลไลท์ บรอดคาสติ้ง ซีสเท็ม
จำกัด - - 106 100 4.75-5.75 5.75
7.บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด - - 98,559 51,393 4.75-5.75 5.00-6.75
รวมเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย - - 784,162 1,133,204
-บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
1.บริษัท อินโฟบิซ จำกัด 34,069 31,466 34,069 31,466 7.25-8.25 8.25-14.75
2.บริษัท อินโฟแปซิฟิค
คอร์ปอเรชั่น จำกัด 24,915 23,012 24,915 23,012 7.25-8.25 8.25-14.75
รวมเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 58,984 54,478 58,984 54,478
รวม 58,984 54,478 843,146 1,187,682
บริษัทย่อยให้กู้ยืม
-บริษัทอื่น
1.บริษัท ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น จำกัด 16,000 10,000 - - 10.00 10.00
รวมเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทอื่น 16,000 10,000 - -
รวมทั้งสิ้น 74,984 64,478 843,146 1,187,682
-8-
7. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมและผลขาดทุนเกินกว่าเงินลงทุน
หน่วย : พันบาท
สัดส่วนการถือหุ้น % ตามวิธีราคาทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย
30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542 30 มิ.ย. 2543 31 ธ.ค. 2542
บริษัทย่อย
1.บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด 99.99 99.99 299,999 299,999 1,280,346 1,201,604
2.บริษัท รังสิโรตม์วนิช จำกัด 99.99 99.99 35,000 35,000 868,173 1,424,627
3.บริษัท นิวเวิลด์ โปรดั๊กชั่น จำกัด 99.99 99.99 59,999 59,999 1,088,564 1,147,674
4.บริษัท อริยะวัฒน์ จำกัด 99.99 99.99 42,997 42,997 601,139 625,366
5.บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอร์โปเรชั่น จำกัด 99.99 99.99 34,999 34,999 (176,285) (144,825)
6.บริษัท ทรีมีเดีย จำกัด 99.99 99.99 30,000 30,000 (4,978) (3,181)
7.บริษัท บีอีซี สตูดิโอ จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 6,552 6,483
8.บริษัท บีอีซี อินเตอร์เนชั่นแนล
ดิสทริบิวชั่น จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 (4,758) (3,299)
9.บริษัท สำนักข่าว บีอีซี จำกัด 99.99 99.99 5,000 5,000 6,551 6,481
10.บริษัท บางกอกเทเลวิชั่น จำกัด
(เดิมชื่อ บริษัท บางกอกเคเบิ้ลเทเลวิชั่น
ซีสเท็ม จำกัด) 99.99 99.99 5,000 5,000 71,583 2,519
11.บริษัท บางกอกแซทเทิลไลท์ แอนด์
เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด 99.99 99.99 25,000 25,000 33,958 33,541
12.บริษัท แซทเทิลไลท์ บรอดคาสติ้ง ซีสเท็ม จำกัด 99.99 99.99 1,000 1,000 1,151 1,149
13.บริษัท แซทเทิลไลท์ ทีวี บรอดคาสติ้ง จำกัด 99.99 99.99 1,000 1,000 682 696
14.บริษัท บีอีซี-เทโรเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด 59.99 59.99 8,116 8,116 6,397 (7,710)
รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย 558,110 558,110 3,965,096 4,450,140
รวมผลขาดทุนเกินกว่าเงินลงทุน - - (186,021) (159,015)
บริษัทร่วม
1.บริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) 20.00 20.00 328,847 328,847 195,677 193,089
รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม 886,957 886,957 4,160,773 4,643,229
รวมผลขาดทุนเกินกว่าเงินลงทุน - - (186,021) (159,015)
เนื่องจากบริษัทย่อยบางบริษัทมีผลขาดทุนเกินทุน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 31 ธันวาคม
2542 เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีส่วนได้เสียจึงแสดงไว้ในหมวดหนี้สินภายใต้หัวข้อ "ผลขาดทุนเกิน
กว่าเงินลงทุน""
-9-
งบการเงินของบริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2543
และ 31 ธันวาคม 2542 ถือตามรายงานของผู้สอบบัญชีอื่น ส่วนได้เสียที่บันทึกในงบการเงินรวมและงบ
การเงินเฉพาะของบริษัทฯ มีจำนวนเงินไม่เป็นสาระสำคัญ
บริษัทถือหุ้นในบริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นจำนวน 7.20 ล้านหุ้น มีราคาตลาด ณ วันที่ 30 มิถุนายน
2543 และ 31 ธันวาคม 2542 เท่ากับ 79.20 ล้านบาท และ 106.20 ล้านบาท ตามลำดับ
งบการเงินของ B E C - TERO (YANGON) COMPANY LIMITED ซึ่งเป็นบริษัทในประเทศพม่า
ถือหุ้นโดยบริษัทย่อย และนำมาประกอบเป็นส่วนหนึ่งในงบการเงินรวม วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ
วันที่ 31 ธันวาคม 2542 ได้ถือตามข้อมูลของผู้สอบบัญชีของประเทศพม่า สำหรับงบการเงิน วันที่ 30
มิถุนายน 2542 ได้ถือตามข้อมูลของฝ่ายบริหารโดยยังไม่ได้ผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชี สินทรัพย์
หนี้สิน และส่วนได้เสีย มีจำนวนเงินไม่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
หน่วย : พันบาท
ประเภทกิจการ ลักษณะความ ทุนชำระแล้ว เงินปันผล
สัมพันธ์ 30 มิ.ย. 31 ธ.ค. 30 มิ.ย. 30 มิ.ย.
2543 2542 2543 2542
บริษัทย่อย
1. บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ ดำเนินธุรกิจสถานีโทรทัศน์และ ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 300,000 300,000 199,999 199,999
จำกัด วิทยุ ร่วมกัน
2. บริษัท รังสิโรตม์วนิช จำกัด จัดหา ผลิตรายการและขายเวลา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 689,990 -
โฆษณาทางโทรทัศน์ ร่วมกัน
3. บริษัท นิวเวิลด์ โปรดั๊กชั่น จำกัด จัดหา ผลิตรายการและขายเวลา ผู้ถือหุ้น/กรรมการ 5,000 5,000 184,998 -
โฆษณาทางโทรทัศน์ ร่วมกัน
(ยังมีต่อ)